แกะรอยแผนการของพระเจ้า

Main



Mind Mapping หน่วย : แกะรอยแผนการของพระเจ้า






หน่วย : แกะรอยแผนการของพระเจ้า
เป้ามายความเข้าใจUnderstanding Goals:

          1. เพื่อศึกษาความหลากหลายของการกำเนิด และกระบวนการในการปรับตัวของสิ่งต่างๆ รอบตัว คาดการณ์และเห็นแนวโน้มของสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างมีเหตุผล
          2. เข้าใจและเห็นคุณค่าความสัมพันธ์ความหลายหลายของสิ่งต่างๆ  และตัวเอง เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีเป้าหมายและมีคุณค่า
ระยะเวลา(Duration) : 11 สัปดาห์ (8 ชั่วโมง/สัปดาห์)
ครูผู้สอน : นางสาววริศรา  ถวิลรักษ์



ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์สาระการเรียนรู้กับมาตรฐานและตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย :  “แกะรอยแผนการของพระเจ้า
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 Quarter 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
มาตรฐานการเรียนรู้
23102
23102
23103
23102
23102
23102
23202
มาตรฐานที่ 1.2
- สำรวจและอธิบายความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่นที่ทำให้สิ่งมีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล(ม3/5)
มาตรฐาน ว7.1
- สืบค้นและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ โลก ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์อื่นๆ และผลที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตบนโลก
- สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบของเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
มาตรฐาน ว7.2
- สืบค้นและอภิปรายความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศที่ใช้สำรวจอวกาศ วัตถุท้องฟ้า สภาวะอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ การเกษตรและการสื่อสาร
มาตรฐาน ว8.1
- ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าเรื่อวที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
- สร้างสมมุติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสำรวจตรวจสอบหลายๆ วิธี
- รวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลเชิงปปริมาณและคุณภาพ
- วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุปทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับสมมุติฐานและความผิดปกติของข้อมูลจากการสำรวจตรวจสอบ(ม3/5)
- สร้างแบบจำลองหรือรูปแบบที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสำรวตรวจสอบ(ม3/6)
- สร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องและนำความรู้ที่ได้นำไปใช้ในสถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดกระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้อื่นเข้าใจ(ม3/7)
- บันทึกและอธบายผลการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่างๆ ให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม(ม3/8)
- จัดแสดงผลงาน เขียน รายงาน และหรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดกระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ(ม3/9)


มาตรฐานที่ 1.1
- วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์อารยธรมและความสงบสุขแก่โลก(ม3/2)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตนตามหลักธรรมในการพัฒนาตนเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการทำงานและการมีครอบครัว(ม3/7)
- วิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับวิถีการดำเนินชีวิตของศาสนิกชนในศาสนาอื่นๆ(ม3/10)



มาตรฐานที่ 4.1
- วิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผลตามวิธีการทางประวัติศาสตร๋ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆ ที่ตนสนใจ (ม3/1)
- ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆที่สนใจ(ม3/3)
มาตรฐานที่ 5.2
- วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและทางสังมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้(ม3/1)

มาตรฐานที่ 1.1
- อภิปรายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ(ม3/1)
- ใช้ทักษะในการทำงานร่วมกันอย่างมีคุณธรรม(ม3/2)
- อภิปรายการทำงานโดยใช้ทักษะการจัดการเพื่อการประหยัดพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม (ม3/3)
มาตรฐานที่ 2.1
- สร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยี อย่างปลอดภัย ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพฉาย เพื่อนำไปสู่การสร้างต้นแบบ และแบบจำลองของสิ่งของเครื่องใช้หรือถ่ายทอดความคิดของวิธีการเป็นแบบจำลองความคิดและการรายงานผล(ม3/2)
มาตรฐานที่ 3.1
- ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะงาน(ม3/3)


มาตรฐานที่ 2.1
- วิเคราะห์สาเหตุและเสนอแนวทางป้องกันแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว(ม3/3)

มาตรฐานที่ 5.1
- วิเคราะห์อิทธิพลของสื่อต่อพฤติกรรมสุขภาพและความรุนแรง(ม3/3)


มาตรฐานที่ 1.1
- มีทักษะในการผสมผสานวัสดุต่างๆ ในการสร้างงานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการออกแบบ
(ม3/5)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราวโดยประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ (ม3/7)
- สร้างสรรคิ์งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยายเหตุการณ์ต่างๆ โดยใช้เทคนิคที่หลากหลาย(ม3/9)
มาตรฐานที่ 3.1
- มีทักษะในการใช้ความคิดในการพัฒนารูปแบบการแสดง(ม3/4)
- มีทักษะการแปลความและการสื่อสารผ่านการแสดง (ม3/4)


จุดเน้น 1.1
- แสดงออกและแนะนำผู้อื่นให้มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม(ม3/2)
จุดเน้น 3.1
- มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจตรวจสอบข้อมูล ตรวจสอบการทำหน้าที่ของบุคลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ(ม3/7)
จุดเน้น 4.1
- เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันในภูมิภาคต่างๆ ของโลกอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน







Week
Input
Process
Output
Outcome
1

โจทย์ : ออกแบบการเรียนรู้
วิเคราะห์หลักสูตร 2551 วิชาบูรณาการ
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- วางแผนการเรียนรู้
คำถาม
- นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง
- นักเรียนจะตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจ
- นักเรียนจะออกแบบปฏิทินการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจ
เครื่องมือคิด
- Think pair share เลือกชื่อหน่วย
- Black board share ตั้งชื่อหน่วย
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- Show and Share ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
หนังสือหลักสูตรปี พ.ศ.2551

วิเคราะห์หลักสูตร
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ Quarter 1
- เขียนMind mapping ความรู้ก่อนเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน :
วิเคราะห์หลักสูตร
- ร่วมกันตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้และออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
- สรุป Mind Mapping ก่อนการเรียนรู้

ชิ้นงาน :
- ชื่อหน่วยการเรียนรู้
- Mind Mapping (ก่อนเรียน)
- ปฏิทินการเรียนรู้ Quarter 1
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
สามารถออกแบบวางแผนกระบวนการเรียนรู้ ได้อย่างเหมาะสมและน่าสนใจ

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน



คุณลักษณะ:

- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
2

โจทย์ : วิวัฒนาการของโลก
- ก่อกำเนิดโลก
คำถาม
- โลกกำเนิดขึ้นได้อย่างไร?
- ใครเป็นผู้สร้างโลก
- พระเจ้าเป็นผู้สร้างโลกจริงหรือถ้ามีพระองค์อยู่ที่ไหน?
เครื่องมือคิด
- BAR แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับทฤษฎีวิวัฒนาการ
วางแผนกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับโดยมีเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก
- DAR ทำกิจกรรมการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
- AAR ความเข้าใจที่ได้จากกิจกรรมการดูคลิปวีดิโอ รูปภาพ บทความ และเรื่องเล่า
ผลจากกิจกรรมการเรียนรู้
Show and share นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในห้องเรียน
ห้องเรียน
- คลิปวีดิโอการล่มสลายของวิวัฒนาการ
- ชุดคำถาม

ครูและนักเรียนดูคลิป การล่มสลายของวิวัฒนาการ
- นักเรียนจับคู่ เพื่อศึกษาชุดข้อมูลคำถามต่อไปนี้ “โลกกำเนิดขึ้นได้อย่างไร”, “พระเจ้าเป็นผู้สร้างโลกจริงหรือ ถ้ามีพระองค์ทำอะไรบ้าง และตอนนี้อยู่ที่ไหน, สิ่งมีชีวิตเกิดมาจากบรรพบุรุษเดียวกันจริงหรือ, ใครเป็นผู้สร้างมนุษย์, ปรากฎการณ์ของสังคม/การเกิดประเทศ/ศาสนา/สงครามเกิดขึ้นได้อย่างๆ ไร
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์ (เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก)
นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ในรูปแบบของตนเอง อาทิเช่น การ์ตูนช่อง, บทความ, Mind Mapping,Clip VDO, Infographic เป็นต้น

ภาระงาน :
- ร่วมกันดูคลิป การล่มสลายของวิวัฒนาการ, การกำเนิดโลกและการกำเนิดดวงอาทิตย์
- จับคู่ เพื่อศึกษาชุดข้อมูลคำถาม
- ประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก)
-ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน :
- การตอบคำถามชุดข้อมูล
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
- กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ในรูปแบบของตนเอง อาทิเช่น การ์ตูนช่อง, บทความ, Mind Mapping,Clip VDO, Infographic เป็นต้น

ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลกพร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน



คุณลักษณะ:

- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
3
 โจทย์ : วิวัฒนาการของโลก
- ก่อกำเนิดโลกและเอกภพ
คำถาม
- สิ่งที่นักเรียนรู้แล้วเกี่ยวกับโลกมีอะไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
- BAR แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการดูรูปภาพโลกและเอกภพ
วางแผนกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับโดยมีความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการกำเนิดของโลก-เอกภพและวิวัฒนาการของโลก
- DAR ทำกิจกรรมการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
- AAR ความเข้าใจที่ได้จากกิจกรรมการดูคลิปวีดิโอ รูปภาพ บทความ และเรื่องเล่า
ผลจากกิจกรรมการเรียนรู้ Show and share นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้

- นักเรียนดูรูปภาพต่อไปนี้


- ครูแจกกระดาษ(card and chart)ให้นักเรียนแต่ละคนเขียนสิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับโลกและเอกภพ
- ครูให้นักเรียนดู Clip VDO การกำเนิดโลกและการกำเนิดดวงอาทิตย์
- นักเรียนแบ่งกลุ่มวิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดู Clip VDO การกำเนิดโลกและการกำเนิดดวงอาทิตย์
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์ (เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและชั้นบรรยากาศของโลก)
นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
- นักเรียนทำชั้นบรรยากาศของโลกในรูปแบบของตนเอง
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
 ภาระงาน :
- ร่วมกันดูรูปภาพโลกและเอกภพ
- การเขียนสิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับโลกและอนาคต
- ร่วมกันดู Clip VDO การกำเนิดโลกและการกำเนิดดวงอาทิตย์
- ประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก)
-ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน :
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับโลกและดวงอาทิตย์
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
- กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ในรูปแบบของตนเอง อาทิเช่น การ์ตูนช่อง, บทความ, Mind Mapping,Clip VDO,Infographic เป็นต้น 
 ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน



คุณลักษณะ:

- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
4
 โจทย์ : วิวัฒนาการของโลก
- โครงสร้างของโลก
- ชั้นบรรยากาศของโลก
คำถาม
- โครงสร้างของแตงโมประกอบด้วยอะไรบ้าง คล้ายกับโครงสร้างของโลกอย่างไร    
- มนุษย์เดินทางออกไปนอกโลกได้อย่างไร?
- ทำไมเครื่องบินจึงไม่บินชนกัน?
เครื่องมือคิด
- BAR แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการดูภาพยนตร์เรื่องThe martian
วางแผนกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับโดยมีความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและชั้นบรรยากาศของโลก
- DAR ทำกิจกรรมการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
- AAR ความเข้าใจที่ได้จากกิจกรรมการดูคลิปวีดิโอ รูปภาพ บทความ และเรื่องเล่า
ผลจากกิจกรรมการเรียนรู้ Show and share นำเสนอความคิดเห็น
เกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในห้องเรียน
ห้องเรียน
- แตงโม
- ภาพยนตร์เรื่องThe martian

- ครูให้นักเรียนผ่าแตงโมและดูส่วนประกอบต่างๆ เชื่อมโยงโครงสร้างกับสิ่งรอบตัว
- ครูให้นักเรียนดูภาพยนตร์เรื่อง The martian
- นักเรียนแบ่งกลุ่มวิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการชมภาพยนตร์
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์ (เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและชั้นบรรยากาศของโลก)
นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
- นักเรียนทำชั้นบรรยากาศของโลกในรูปแบบของตนเอง
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน :
- ผ่าแตงโมและร่วมกันดูส่วนประกอบต่างๆ เชื่อมโยงโครงสร้างกับสิ่งรอบตัว
- ร่วมกันดูภาพยนตร์เรื่องThe martian
- ประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและชั้นบรรยากาศของโลก)
-ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน :
- ออกแบบโมเดลโลกและชั้นบรรยากาศของโลกในรูปแบบของตนเอง
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
- กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและชั้นบรรยากาศของโลก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและชั้นบรรยากาศของโลก พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน



คุณลักษณะ:

- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
5
 โจทย์ : วิวัฒนาการของโลก
- ปรากฎการณ์ธรรมชาติ
คำถาม
- นักเรียนคิดว่าในโลกของเราทั้งภายในและภายนอกเปลือกโลกนั้น มีสิ่งใดบ้างที่เกิดการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
- พายุสุริยะเกิดจากอะไร ส่งผลกระทบอย่างไร?
เครื่องมือคิด
- BAR แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการเชื่อมโยงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับปรากฎการณ์ในเวลาที่กำหนด
วางแผนกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับโดยมีเป้าหมายความเข้าใจเกี่ยวกับการกำเนิดของสิ่งต่างๆ วิวัฒนาการของโลก,มนุษย์,พืชและสัตว์ ผ่านการมองเหตุการณ์ในอดีต
- DAR ทำกิจกรรมการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
- AAR ความเข้าใจที่ได้จากกิจกรรมการดูคลิปวีดิโอ รูปภาพ บทความ และเรื่องเล่า
ผลจากกิจกรรมการเรียนรู้ Show and share นำเสนอความคิดเห็น
เกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
- ชักเย่อความคิด ร่วมกันแสดงความคิดเห็นจากคำถาม พระเจ้าเป็นผู้สร้างโลกหรือไม่ เพราะอะไร
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในห้องเรียน
ห้องเรียน
- รูปภาพผลกระทบจากปรากฎการณ์ธรรมชาติต่างๆ ต่อไปนี้ อาทิเช่น พายุสุริยะ, สึนามิ, ภูเขาไฟระเบิด, สภาวะโลกร้อน ฯลฯ
- กระดาษ A4

- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “พระเจ้าเป็นผู้สร้างโลกหรือไม่ เพราะอะไร”
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นผ่านการชักเย่อความคิด
- ครูให้นักเรียนเลือกรูปภาพผลกระทบจากปรากฎการณ์ธรรมชาติต่างๆ ต่อไปนี้ อาทิเช่น พายุสุริยะ, สึนามิ, ภูเขาไฟระเบิด, สภาวะโลกร้อน ฯลฯ





- นักเรียนเขียนเชื่อมโยงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ ครูกำหนดเวลา 5 นาที
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าในโลกของเราทั้งภายในและภายนอกเปลือกโลกนั้น มีสิ่งใดบ้างที่เกิดการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
- นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์ (เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ)
นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน :
- เลือกรูปภาพผลกระทบจากปรากฎการณ์ธรรมชาติต่างๆ ต่อไปนี้ อาทิเช่น พายุสุริยะ, สึนามิ, ภูเขาไฟระเบิด, สภาวะโลกร้อนฯลฯ
- เขียนเชื่อมโยงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ
- การร่วมกันศึกษาและออกแบบสื่อ
- ประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ)
- ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- Flow Chart นำเสนอปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโลก
ชิ้นงาน :
- การเขียนเชื่อมโยงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ
- Flow Chart นำเสนอปัจจัจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโลก
- กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและปรากฎการณ์ทางธรรมชาติพร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน



คุณลักษณะ:

- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
6
 โจทย์ : วิวัฒนาการของโลก
- คาดการณ์แนวโน้มโลกในอนาคต
คำถาม
- อีก  500 ข้างหน้าโลกจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?
เครื่องมือคิด
- BAR แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการเชื่อมโยงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับปรากฎการณ์ในเวลาที่กำหนด
วางแผนกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับโดยมีเป้าหมายความเข้าใจเกี่ยวกับการกำเนิดของสิ่งต่างๆ วิวัฒนาการของโลก,มนุษย์,พืชและสัตว์ ผ่านการมองเหตุการณ์ในอดีต
- DAR ทำกิจกรรมการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
- AAR ความเข้าใจที่ได้จากกิจกรรมการดูคลิปวีดิโอ รูปภาพ บทความ และเรื่องเล่า
ผลจากกิจกรรมการเรียนรู้ Show and share นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในห้องเรียน
ห้องเรียน
- คำทำนายของหญิงตาบอด
- กระดาษ A4

- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด อีก  “500 ข้างหน้าโลกจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?”
- นักเรียนแบ่งกลุ่มอ่านบทความ คำทำนายของหญิงตาบอด
- นักเรียนเลือก 1 ประเด็กที่สนใจ เพื่อคาดการณ์แนวโน้มความเป็นไปได้
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์ (เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและคาดการณ์แนวโน้มโลกในอนาคต)
นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
 ภาระงาน :
- แบ่งกลุ่มอ่านบทความ คำทำนายของหญิงตาบอด
- ประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- การเลือก 1 ประเด็กที่สนใจ เพื่อคาดการณ์แนวโน้มความเป็นไปได้
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ)
-ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน :
- เขียนคาดการณ์แนวโน้มในอนาคต
- สมุดบันทึก
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
- กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการแปรผันของสิ่งต่างๆ รอบตัวผ่านการมองเหตุการณ์ในปัจจุบัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
 ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของโลกและคาดการณ์แนวโน้มโลกในอนาคต)พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน



คุณลักษณะ:

- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
7
โจทย์ : วิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต
- ก่อกำเนิดสิ่งมีชีวิต
คำถาม
- นักเรียนคิดว่าสิ่งมีชีวิตชนิดแรกที่กำเนิดขึ้นบนโลกมีลักษณะเป็นอย่างไร?
- สิ่งมีชีวิตที่หลายหลายในโลกนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร?
- นักเรียนคิดว่าไดโนเสาร์สูญพันธุ์ไปได้อย่างไร? มนุษย์จะสูญพันธุ์ไปเหมือนในไดโนเสาร์ไหม?
เครื่องมือคิด
- BAR แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการเชื่อมโยงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับปรากฎการณ์ในเวลาที่กำหนด
วางแผนกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับโดยมีเป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต
- DAR ทำกิจกรรมการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
- AAR ความเข้าใจที่ได้จากกิจกรรมการดูคลิปวีดิโอ รูปภาพ บทความ
และเรื่องเล่า
ผลจากกิจกรรมการเรียนรู้ Show and share นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในห้องเรียน
ห้องเรียน
- นักเรียนคิดว่าไดโนเสาร์สูญพันธุ์ไปได้อย่างไร?
- ครูและนักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าสิ่งมีชีวิตชนิดแรกที่กำเนิดขึ้นบนโลกมีลักษณะเป็นอย่างไร”
- นักเรียนวาดภาพลงในกระดาษ A4 และนำเสนอ
- จับฉลากแบ่งกลุ่มสืบค้นข้อมูล “การกำเนิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการครั้งแรกของโลก
- นำเสนอในรูปแบบที่แต่ละกลุ่มสนใจ
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์ (เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต)
นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน

- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน :
- ร่วมกันแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น
- วาดภาพลักษณะสิ่งมีชีวิตชนิดแรกที่กำเนิดขึ้นบนโลก
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต)
-ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน :
- เล่นเกม“Yes! No! Question?
- สมุดบันทึก
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
- กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะICT


คุณลักษณะ:

- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
8
โจทย์ : วิวัฒนาการของสู่สิ่งมีชีวิต
- กระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
คำถาม
- สิ่งมีชีวิตสูญพันธุ์ได้อย่างไร?
- นักเรียนคิดว่าพระเจ้ามีส่วนที่ทำให้มนุษย์ พืชและสัตว์เกิดความเปลี่ยนแปลงด้านวิวัฒนาการหรือไม่เพราะเหตุใด?

เครื่องมือคิด
- BAR แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการเชื่อมโยงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับปรากฎการณ์ในเวลาที่กำหนด
วางแผนกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับโดยมีการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต
- DAR ทำกิจกรรมการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
- AAR ความเข้าใจที่ได้จากกิจกรรมการดูคลิปวีดิโอ รูปภาพ บทความ และเรื่องเล่า
ผลจากกิจกรรมการเรียนรู้ Show and share นำเสนอความคิดเห็น
เกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ชุดคำถามเกม “ใช่หรือไม่”
- Clip VDOWhat is natural selection?”
- กระดาษ A4
- ครูให้นักเรียนดู Clip VDO “What is natural selection?”
- นักเรียนจับคู่ศึกษาชุดคำถามต่อไปนี้
(ปีกนก ขาแพนด้า และแขนคนมีความเหมือนหรือต่างกันอย่างไร,ทำไมสิ่งมีชีวิตถึงมีร่างกายซับซ้อนขึ้น,ทำไมไดโนเสาร์ถึงหายไป,
มนุษย์จะหายไปเหมือนในไดโนเสาร์ไหม, ทำไมสิ่งมีชีวิตร่างกายซับซ้อนขึ้น, ทำไมสิ่งมีชีวิตจึงมีขนาดใหญ่/การคัดเลือกโดยธรรมชาติคืออะไร
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์ (เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต)
นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน

- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน :
- จับคู่เล่นเกม“Yes! No! Question?
- ครูให้นักเรียนดู Clip VDOEvolution of plants
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต)
-ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน :
- เล่นเกม“Yes! No! Question?
- สมุดบันทึก
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
- กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน



คุณลักษณะ:

- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
9
โจทย์ : วิวัฒนาการของสู่สิ่งมีชีวิต
- กลไกโดยธรรมชาติ
คำถาม
- การกลายพันธุ์เกิดขึ้นได้อย่างไร?
- ถ้าไม่มีน้ำเราจะปลูกพืชได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- BAR แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับไกของธรรมชาติและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต
วางแผนกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับโดยมีการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต
- DAR ทำกิจกรรมการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
- AAR ความเข้าใจที่ได้จากกิจกรรมการดูคลิปวีดิโอ รูปภาพ บทความ และเรื่องเล่า
ผลจากกิจกรรมการเรียนรู้ Show and share นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ข่าวจากสื่อต่างๆ บทความ,ข่าว, Clip ข่าว, รูปภาพ เป็นต้น
- ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาข่าวจากสื่อต่างๆ บทความ,ข่าว, Clip ข่าว, รูปภาพ เป็นต้น (Clip ข่าวผลกระทบนิวเคลียร์ที่ฟูกูชิมะ, Clip ข่าว กรีนพีซร้องไทยหยุดทดลองพืชGMO, บทความข่าวต้นโพธิ์สีชมพูกลายพันธุ์เองตามธรรมชาติ, ข่าวสาวน้อยมหัศจรรย์อายุ 17 ปีแต่ร่างกายเหมือนเด็ก 1 ขวบ, จีนนิยมความขาวเพราะยีนกลายพันธุ์)
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปราย
- ครูเปิด Clip VDO “รายการดูให้รู้ ตอน ความลับของความหวาน มะเขือเทศขาดน้ำ
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์ (เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับกลไกของธรรมชาติและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต)
นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน

- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน :
- ร่วมกันศึกษาข่าวจากสื่อต่างๆ บทความ,ข่าว, Clip ข่าว, รูปภาพ เป็นต้น
- แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายประเด็นข่าว
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับดกลไกของธรรมชาติและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต)
-ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน :
- ข่าวจากสื่อต่างๆบทความ,ข่าว, Clip ข่าว, รูปภาพ เป็นต้น
- สมุดบันทึก
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
- กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ ;
ความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับดกลไกของธรรมชาติและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิตพร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน



คุณลักษณะ:

- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
10
โจทย์ : วิวัฒนาการของสู่สิ่งมีชีวิต
- คาดการณ์แนวโน้มในอนาคต
คำถาม
- ในอนาคตสิ่งมีชีวิตจะมีวิวัฒนาการต่อไปอย่างไร?
เครื่องมือคิด
- BAR แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการเชื่อมโยงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับปรากฎการณ์ในเวลาที่กำหนด
วางแผนกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับโดยมีการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต
- DAR ทำกิจกรรมการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
- AAR ความเข้าใจที่ได้จากกิจกรรมการดูคลิปวีดิโอ รูปภาพ บทความ และเรื่องเล่า
ผลจากกิจกรรมการเรียนรู้ Show and share นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ภาพยนตร์เรื่องเบนจามิน บัต
ตัน อัศจรรย์คนโลกไม่เคยรู้
- ครูเปิดภาพยนตร์เรื่อง เบนจามิน บัตตัน อัศจรรย์คนโลกไม่เคยรู้
- ครูและนักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากภาพยนตร์เรื่อง เบนจามิน บัตตัน อัศจรรย์คนโลกไม่เคยรู้
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์ (เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต)
นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน :
- ดูภาพยนตร์เรื่อง เบนจามิน บัตตัน อัศจรรย์คนโลกไม่เคยรู้
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อเกิดสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของโลกสู่สิ่งมีชีวิต)
-ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน :
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากเรื่อง เบนจามิน บัตตัน อัสจรรย์คนโลกไม่เคยรู้
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
- กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตและสามารถคาดการณ์แนวโน้มในอนาคต
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ ;
เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตและสามารถคาดการณ์แนวโน้มในอนาคต พร้อมทั้งสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจสิ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน



คุณลักษณะ:

- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
11
โจทย์ : สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
คำถาม

- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง
- นักเรียนจะนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตได้อย่างไรบ้าง
เครื่องมือคิด
-
 Blackboard Share ความคิดเห็นสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว กับสิ่งที่ควรปรับปรุงเกี่ยวกับหนังเครื่องร่อน
- ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน
 Quarter นี้ผ่านเครื่องมือ คิด Round Rubin
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียนผ่านเครื่องมือMaid Mapping
- Show share สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครูนักเรียน
สื่อ / อุปกรณ์
- กระดาษ A3
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดQuarter 1
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping
-  ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้ /ประเมินตนเอง
- จัดนิทรรศการเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้

- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน :
- แลกเปลี่ยนสิ่งที่เรียนรู้ตลอดQuarter 1
- จัดนิทรรศการเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้หลังเรียนในรูปแบบMind Mapping

ชิ้นงาน :
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- นิทรรศการเครื่องร่อน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
 เข้าใจและสามารถสรุปแก่นแท้ของการกระบวนการเรียนรู้เพื่อถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้ได้


ทักษะ

ทักษะชีวิต

ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
12
โจทย์ : ทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ ใน Quarter 1
คำถาม :
- ใน Quarter ที่ผ่านมานักเรียนเรียนเนื้อหาใดบ้าง/อย่างไร?
- นักเรียนคิดว่า ประเทศไทย และโลกมีประชากรเท่าไร

เครื่องมือคิด
 :
- Round Robin
- Show and Share
- Blackboard Share
Wall Thinking
 ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
ครู / นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
ห้องเรียน
ข้อมูลจาก Website
เรื่องเล่าเกี่ยวกับปี ค.ศ.2040
- Internet /  สี / ปากกา / กระดาษ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด นักเรียนคิดว่า ประเทศไทย และโลกมีประชากรเท่าไร?
ครูให้นักเรียนดูข้อมูลโลกในปัจจุบันแบบReal time จากเว็บไซต์http://www.worldometers.info/ ได้แก่ ข้อมูลจำนวนประชากร จำนวนคนเกิด คนตาย ปริมาณการใช้น้ำ น้ำมัน การตัดใช้ทำลายป่า เป็นต้น
- ครูเล่าเรื่องในปี ค.ศ. 2040 โลกจะมีประชากรถึง 9,000 ล้านคน
- นักเรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน เกี่ยวกับปี ค.ศ. 2040 ในรูปแบบ Round Robin
- นักเรียนสรุปความคิดเห็นของตัวเอง ในรูปแบบ Infographic
นักเรียนร่วมออกแบบรูปแบบการนำเสนอส่งที่ได้เรียนรู้
นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนนำเสนอความคืบหน้าและศึกษาเพิ่มเติม

นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้ดู เรื่องเล่าที่ได้ฟัง
เตรียมความพร้อมถ่ายทอดความเข้าใจ
บันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงสมุด
- ประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับการก่อกำเนิดโลกและวิวัฒนาการของโลก)
-ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- Inforgraphic เกี่ยวกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 2040
บทความเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับตนเอง
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
- กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตและสามารถคาดการณ์แนวโน้มในอนาคต
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
ความรู้
เข้าใจและมองเห็นความสัมพันธ์ของการกระทำที่ส่งผลต่อเหตุการณ์ที่เกิดจากเหตุการณ์เกิดขึ้นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ทักษะ
ทักษะชีวิต

ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น
สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
13-15
โจทย์ : วิวัฒนาการสังคมโลก
อารยธรรม
- ขนบธรรมเนียม/ประเพณี
- วัฒนธรรม
- ความเชื่อ

คำถาม :
- เมื่อพูดถึงประเทศไทยนักเรียนคิดถึงอะไรบ้าง?
- นักเรียนเคยได้ยินเรื่องราว หรือความเชื่อใดบ้าง ที่ญาติผู้ใหญ่ของตนเอง เชื่อและเคารพนับถืออย่างไร
- นักเรียนคิดว่าความเชื่อที่เกิดขึ้นของคนโบราณ มีความเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตอย่างไร?
- ศาสนาเกิดขึ้นได้อย่างไร?
- ทำไมเราต้องมีศาสนา?

เครื่องมือคิด :
- AAR/DAR/BAR
- Round Robin

- Show and Share
- Blackboard Share
Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
ครู / นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
ห้องเรียน
ฉลากเกมวาดภาพใบ้คำ
- เพลงพื้นบ้านแต่ละภาค
- ฉลากเลือกหัวข้อ ขนบธรรมเนียม/ประเพณี,วัฒนธรรม, ความเชื่อ
- Clip VDO Discover Amazing Stories : PADTHAI 2 Mins,
Thai Food Taste Test,บทความเรื่อง ความเชื่อของคนโบราณและข้อห้าม
- นักเรียนเล่นเกมวาดภาพใบ้คำ
- ครูเปิดเพลงพื้นบ้านภาคเหนือ,อีสาน,ใต้,กลาง
- นักเรียนวาดภาพประกอบเพลง
- นักเรียนจับฉลากเลือกหัวข้อ ขนบธรรมเนียม/ประเพณี,วัฒนธรรม, ความเชื่อต่อไปนี้ (ข้าวโป่ง, ผ้าไหม, ปลาร้า,วันลอยกระทง, วันสงกรานต์, ผีตาโขน, บุญคูนลาน, ข้าวจี่, นิทานก้อม, หมอลำ,ข้าวเหนียว, ผ้าซิ่น, โปงลาง, แคน
- นักเรียนเขียนเชื่อมโยงสิ่งที่รู้แล้วจากหัวข้อที่ได้ให้ได้มากที่สุด
- นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาข้อมูลจากสื่อต่างๆที่ครูเตรียมไว้  Clip VDO Discover Amazing Stories : PADTHAI 2 Mins, Thai Food Taste Test, บทความเรื่อง ความเชื่อของคนโบราณและข้อห้าม,
- ครูเปิดภาพยนตร์เรื่อง Moses
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับกระบวนการวิวัฒนาการของสังคมโลก ผ่านการเรียนรู้จากอารยธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมและความเชื่อ)
นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
- นักเรียนออกแบบโมเดลการเรียนรู้ในรูปแบบของตนเอง
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ร่วมกันเล่นเกมวาดภาพใบ้คำ
- ร่วมกันฟังเพลงพื้นบ้านภาคเหนือ,อีสาน,ใต้,กลาง
- ร่วมกันวาดภาพประกอบเพลงพื้นบ้านแต่ละภาค
- นักเรียนเขียนเชื่อมโยงสิ่งที่รู้แล้วจากหัวข้อที่ได้ให้ได้มากที่สุด
- การสนทนาแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น
- ร่วมกันศึกษาข้อมูลจากสื่อต่างๆที่ครูเตรียมไว้ 
- ร่วมกันดูภาพยนตร์เรื่อง Moses
- ประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้กระบวนการเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสังคมโลก ผ่านการเรียนรู้จากอารยธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมและความเชื่อ
-ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ

- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ภาพวาดใบ้คำ
- ภาพวาดประกอบเพลงพื้นบ้าน
- เขียนเชื่อมโยงสิ่งที่รู้แล้วจากหัวข้อที่ได้
- สรุปสิ่งที่เรียนรู้จากสื่อต่างๆที่ครูเตรียมให้ในรูปแบบของตนเอง
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
- กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของสังคมโลก ผ่านการเรียนรู้จากอารยธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมและความเชื่อ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
ความรู้ เข้าใจและตระหนักรู้กระบวนการเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสังคมโลก ผ่านการเรียนรู้จากอารยธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมและความเชื่อ

ทักษะ
ทักษะชีวิต

ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น
สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
16-17
โจทย์ : วิวัฒนาการสังคมโลก
อารยธรรม
- การเมือง/การปกครอง
- เศรษฐกิจ

คำถาม :
- กฎหมายเกิดขึ้นได้อย่างไร
- เราจะทำอย่างไร หากคนที่ฆ่าพ่อแม่เรา หรือคนที่เรารักยืนอยู่ข้างเรา?
- ความขัดแย้งในประเทศไทยสามารถปรองดองกันได้อย่างไร
- ทำไมจึงเกิดภาวะเงินเฟ้อ
เครื่องมือคิด :
- AAR/DAR/BAR
- Round Robin
- Show and Share
- Blackboard Share
Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
ครู / นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศในห้องเรียน
ห้องเรียน
- กระดาษ
- เทปกาว
- อินเตอร์เน็ต
ครูให้นักเรียนทำกิจกรรม“แตกต่างเติมเต็ม”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “เราจะทำอย่างไร หากคนที่ฆ่าพ่อแม่เรา หรือคนที่เรารักยืนอยู่ข้างเรา?
- นักเรียนดูรูปภาพ( 5 ภาพ)และอ่านข้อความต่อไปนี้    








- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ความขัดแย้งในประเทศไทยสามารถปรองดองกันได้อย่างไร”
- อ่านบทความ “ภาวะเงินเฟ้อในซิมบับเว”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “จะเป็นอย่างไร ถ้าวันหนึ่งเงิน ทอง เพชร ไม่มีค่าอีกต่อไป”
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับกระบวนการวิวัฒนาการของสังคมโลก ผ่านการเรียนรู้จากอารยธรรม การเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจ)
นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
- นักเรียนออกแบบโมเดลการเรียนรู้ในรูปแบบของตนเอง
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ภาระงาน
- ร่วมกันทำกิจกรรม“แตกต่างเติมเต็ม”
- ดูรูปภาพ( 5 ภาพ)และอ่านข้อความต่อไปนี้   
- อ่านบทความ “ภาวะเงินเฟ้อในซิมบับเว”
- การสนทนาแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น
- ประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับกระบวนการวิวัฒนาการของสังคมโลก ผ่านการเรียนรู้จากอารยธรรม การเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจ)
-ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
- กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของสังคมโลก ผ่านการเรียนรู้จากอารยธรรม  การเมืองการปกครอง และเศรษฐกิจ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
ความรู้ เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับกระบวนการวิวัฒนาการของสังคมโลก ผ่านการเรียนรู้จากอารยธรรม การเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจ

ทักษะ
ทักษะชีวิต

ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น
สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
18-19
โจทย์ : วิวัฒนาการสังคมโลก
อารยธรรม
- วิถีชีวิต

คำถาม :
- รูปแบบการทำงานของชุมชนที่นักเรียนอาศัยเป็นอย่างไร? เปลี่ยน แปลงไปจากในอดีตอย่างไรบ้าง?
- รูปแบบสังคมแบบอุตสาหกรรมเข้ามามีบทบาทในประเทศไทยได้อย่างไร?
- จะเป็นอย่างไร ถ้าวันหนึ่งเงิน ทอง เพชร ไม่มีค่าอีกต่อไป
เครื่องมือคิด :
- AAR/DAR/BAR
- Round Robin
- Show and Share
- Blackboard Share
Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
ครู / นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในห้องเรียน
ห้องเรียน
- บ้านดินดิบ หนองบัวโคก
- ข้อมูลจากสื่อต่างๆ (Clip VDO รายการดูให้รู้ ตอน มองมุมมืดในญี่ปุ่น, ดูรูปภาพ, หนังสั้นเรื่อง Clip VDO หนังสั้น Tzafarและ สื่อสิ่งพิมพ์)
- ภาพยนตร์เรื่อง In time
- ครูใช้คำถามกระคุ้นการเรียนรู้ “รูปแบบการทำงานของชุมชนที่นักเรียนอาศัยเป็นอย่างไร? เปลี่ยน แปลงไปจากในอดีตอย่างไรบ้าง”
- นักเรียนวางแผนเดินทางเรียนรู้ที่บ้านดินดิบหนองบัวโคก
- เดินทางเรียนรู้ที่บ้านดินดิบหนองบัวโคก
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้หลังจากการเดินทาง
- แบ่งกลุ่มศึกษาข้อมูลจากสื่อต่างๆ ที่ครูเตรียมมาต่อไปนี้ (Clip VDO รายการดูให้รู้ ตอน มองมุมมืดในญี่ปุ่น, ดูรูปภาพ, หนังสั้นเรื่อง Clip VDO หนังสั้น Tzafarและ สื่อสิ่งพิมพ์)
- นักเรียนดูภาพยนตร์เรื่อง In time
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับกระบวนการวิวัฒนาการของสังคมโลก ผ่านการเรียนรู้จากอารยธรรมและวิถีการดำเนินชีวิต)
นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน พร้อมนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในทุกมิติ
- นักเรียนออกแบบโมเดลการเรียนรู้ในรูปแบบของตนเองครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- การร่วมกันตอบคำถาม
- การร่วมกันเดินทางเรียนรู้ที่บ้านดินดิบหนองบัวโคก
- เดินทางเรียนรู้ร่วมกัน
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้หลังเดินทาง
- แบ่งกลุ่มศึกษาข้อมูลจากสื่อต่างๆ ที่ครูเตรียมมาต่อไปนี้
- การร่วมกันดูภาพยนตร์เรื่อง In time
- ประมวลความเข้าใจและตั้งคำถาม
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์(เป้าหมายความเข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับกระบวนการวิวัฒนาการของสังคมโลก ผ่านการเรียนรู้จากอารยธรรมและวิถีการดำเนินชีวิต)
-ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอในทุกมิติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- กำหนดการและแผนการเดินทางเรียนรู้ที่บ้านดินดิบ หนองบัวโคก
- สรุปสิ่งที่ได้เดินทางเรียนรู้ในรูปแบบของตนเอง
- คำถามและประเด็นการออกแบบการเรียนรู้
- กิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของสังคมโลก ผ่านการเรียนรู้จากอารยธรรม วิถีการดำเนินชีวิต
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
สมุดบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้
ความรู้ เข้าใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับกระบวนการวิวัฒนาการของสังคมโลก ผ่านการเรียนรู้จากอารยธรรมและวิถีการดำเนินชีวิต

ทักษะ
ทักษะชีวิต

ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
กล้าแสดงความคิดเห็น
สร้างสรรค์และสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากกระบวนการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น เคารพในความเป็นมนุษย์โดยเท่าเทียมกัน
20
โจทย์ :  Review กิจกรรมออกแบบการเรียนรู้
คำถาม
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไร
จากรูปแบบกระบวนการเรียน 2 หน่วยที่ผ่านมา นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใด

เครื่องมือคิด
AAR กิจกรรมออกแบบการเรียนรู้
ร่วมกัน ตลอด 1 Quarter ที่ผ่านมา
นักเรียนแบ่งกลุ่ม สรุปประเด็นจาก AARและนำเสนอความเข้าใจ จาก 2 ประเด็น
       **  การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไร
     ** จากรูปแบบกระบวนการเรียน 2 หน่วยที่ผ่านมา นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใด
Show and share นำเสนอความ
คิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้
ประเด็น AAR
**  การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไร
     **จากรูปแบบกระบวนการเรียน 2หน่วยที่ผ่านมา นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใด
ครูและนักเรียนร่วม AAR กิจกรรมออกแบบการเรียนรู้
ร่วมกัน ตลอด 1 Quarter ที่ผ่านมา
นักเรียนแบ่งกลุ่ม สรุปประเด็นจาก AAR และนำเสนอความเข้าใจ จาก 2 ประเด็น
       **  การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไร
     **จากรูปแบบกระบวนการเรียน 2 หน่วยที่ผ่านมา นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใด
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน

- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน :
ร่วม AAR กิจกรรมออกแบบการเรียนรู้ ร่วมกัน ตลอด 1Quarter ที่ผ่านมา
นักเรียนแบ่งกลุ่ม สรุปประเด็นจาก AAR และนำเสนอความเข้าใจ จาก 2 ประเด็น
       **  การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไร
     **จากรูปแบบกระบวนการเรียน 2 หน่วยที่ผ่านมา นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใด
อภิปรายร่วมกันและสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน :
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงานนำเสนอความคิดเห็นต่อประเด็นในวง AAR
ความรู้
เข้าใจและสามารถนำเสนอความคิดเห็นมุมมองด้านข้อดีและข้อด้อยของกระบวนการเรียนรู้ที่ผ่านมาเพื่อนำไปพัฒนาต่อได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
21
โจทย์ : สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
คำถาม

- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง
- นักเรียนจะนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตได้อย่างไรบ้าง
เครื่องมือคิด
-
 Blackboard Share ความคิดเห็นสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว กับสิ่งที่ควรปรับปรุงเกี่ยวกับหนังเครื่องร่อน
- ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน
 Quarter นี้ผ่านเครื่องมือ คิด Round Rubin
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียนผ่านเครื่องมือMaid Mapping
- Show share สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครูนักเรียน

สื่อ / อุปกรณ์

- กระดาษ A3
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอด Quarter
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้หลังเรียนในรูปแบบ Timeline
-  ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้ /ประเมินตนเอง
- จัดนิทรรศการเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้

- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน :
- แลกเปลี่ยนสิ่งที่เรียนรู้ตลอด 2 Quarter
- จัดนิทรรศการเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping

ชิ้นงาน :
- Timeline สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- นิทรรศการ

- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
 เข้าใจและสามารถสรุปแก่นแท้ของการกระบวนการเรียนรู้เพื่อถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้ได้


ทักษะ

ทักษะชีวิต

ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น